ในการพิมพ์หนังสือพระธรรมนูญศาลยุติธรรมครั้งที่ 12 นี้ได้รับการแก้ไขเฉพาะรายละเอียดเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น โดยผู้เขียนได้ให้อาจารย์สมลักษณ์จัดกระบวนพลเป็นผู้แก้ไขและผู้เขียนได้ทำการแก้ไขในบางตอนให้เป็นแนวเดียวกับผู้เขียน หวังว่าผู้อ่านคงเข้าใจตามนี้
พระธรรมนูญยุติธรรมเป็นกฎหมายวิธีสบัญญัติซึ่งแม้จะมีเพียง 33 มาตรา แต่สำหรับนักศึกษาซึ่งไม่เคยมีประสบการณ์กับงานของศาลยุติธรรมแล้วอาจจะเข้าใจยาก เพราะตัวบทได้บัญญัติอำนาจของศาลและอำนาจผู้พิพากษาลำดับต่างๆรวมกันไป ทั้งยังอ้างถึงกฏหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความ ซึ่งมีความยุ่งยาก ผู้เขียนได้พยายามแยกแยะอธิบายเพื่อให้เข้าใจความเกี่ยวโยงขงตัวบมได้ง่ายขึ้น
หมวดที่1
- บทที่ 1 ข้อความเบื้องต้น
- บทที่ 2 ศาลก่อนตั้งกระทรวงยุติธรรม
- บทที่ 3 การตั้งกระทรวงยุติธรรม
- บทที่ 4 เอกราชในการศาล
หมวดที่ 2
- บทที่ 1 คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม (ก.บ.ศ.)
- บทที่ 2 อำนาจหน้าที่ของประธานศาลฎีกา
หมวดที่ 3
- บทที่ 1 อำนาจผู้พิพากษา
- บทที่ 2 อำนาจหน้าที่หัวหน้าผู้พิพากษา
- บทที่ 3 อธิบดีผู้พิพากษาภาค
- บทที่ 4 ผู้พิพากษาอาวุโสและผู้พิพากษาประจำศาล
- บทที่ 5 องค์คณะผู้พิพากษา
หมวดที่ 4
- บทที่ 1 ศาลชั้นตั้น
- บทที่ 2 ศาลอุทธรณ์
- บทที่ 3 ศาลฎีกา
หมวดที่ 5
หมวดที่ 6
- บทที่ 1 ระบบตุลาการ
- บทที่ 2 ดะโต๊ะยุติธรรม
- บทที่ 3 ผู้พิพากษาสมทบ