การที่จะรักษาสภาพความปลอดภัยในสถานที่ทำงานเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้ที่ปฏิบัติงานในสถานที่นั้นมีอยู่หลายวิธีด้วยกัน แต่มีอยู่ 3 วิธีที่ถือว่าเป็นพื้นฐานของการควบคุมความปลอดภัย ซึ่งได้แก่ วิธีการตรวจเช็กความปลอดภัย วิธีสะสางและทำให้สะดวก (Seiri, Seiton) และวิธีกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การตรวจเช็กความปลอดภัยเป็นการค้นหาสภาพที่ไม่ปลอดภัยเพื่อการแก้ไข เปรียบได้กับการตรวจเช็กสุขภาพร่างกาย เพื่อการรักษาความผิดปกติที่ตรวจพบเสียตั้งแต่ต้น
การตรวจเช็กความปลอดภัยนั้น มีทั้งการตรวจเช็กตามระยะเวลาใช้งานที่กำหนดโดยผู้เชี่ยวชาญที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และการตรวจเช็กประจำวัน คือ ก่อนเริ่มงานระหว่างการปฏิบัติงาน และหลังเลิกงาน ซึ่งไม่ว่าจะเป็นการตรวจเช็กแบบใด เป้าหมายของการตรวจเช็กก็คือ การค้นหาความบกพร่องของเครื่องจักรอุปกรณ์ โดยไม่ปล่อยให้มีความผิดพลาดหลุดรอดได้
1. วิธีการของการตรวจเช็คความปลอดภัย
- วัตถุประสงค์ของการตรวจเช็กความปลอดภัย
- วิธีดำเนินการตรวจเช็กอย่างมีประสิทธิผล
2. จุดสำคัญในการตรวจเช็กความปลอดภัย
- เครื่องจักรและอุปกรณ์
1. ระบบส่งกำลัง
2. เครื่องจักร
3. เครื่องมือกล
- อุปกรณ์ไฟฟ้า
1. การเดินสายไฟฟ้าแรงดันต่ำ
2. เครื่องมืออุปกรณ์ไฟฟ้า
3. ไฟฟ้าสถิต
- วัตถุอันตราย
1. ไฟ
2. วัตถุไวไฟ
3. วัตถุติดไฟ
4. สารออกซิไดเซอร์ (Oxidizer)
5. แก๊สไวไฟ (Inflammable Gas)
6. วัตถุเปื้อนน้ำมัน
7. อุปกรณ์เก็บแก๊ส
8. ถังแก๊สความดันสูง
9. อุปกรณ์พ่นสี
10. อุปกรณ์อบแห้ง
11. ฝุ่นละอองที่มีคุณสมบัติติดไฟได้ (Inflammable Dust)
- อุปกรณ์ สิ่งแวดล้อม
1. ทางเดิน พื้นของที่ทำงาน
2. ไฟส่องสว่าง
- เครื่องจักรและอุปกรณ์ในการขนย้าย
1. อุปกรณ์ลำเลียง
2. รถยก
3. เครน
- เครื่องมือชนิดต่าง ๆ
1. เครื่องมือใช้งานมือ
2. เครื่องมือประเภทมอเตอร์มือถือ
- เครื่องแต่งกายในการทำงาน
1. หมวก
2. ชุดทำงาน
3. รองเท้า
4. อื่น ๆ
- วิธีปฏิบัติงาน
1. งานยืน
2. งานนั่ง
3. งานขนย้าย
ภาคผนวก ชนิดของป้าย สัญลักษณ์
ดัชนีคำ