รายละเอียดหนังสือ
รหัสสินค้า: 9789745717886
จำนวน: 152 หน้า
ขนาดรูปเล่ม: 145 x 215 x 9 มม.
น้ำหนัก: 205 กรัม
เนื้อในพิมพ์: ขาวดำ 
ชนิดปก: ปกอ่อน 
ชนิดกระดาษ: -ไม่ระบุ 
หน่วย: เล่ม 
สำนักพิมพ์: ธรรมศาสตร์, ศูนย์หนังสือ ม. 
เดือนปีที่พิมพ์: 06 / 2544
:: เนื้อหาโดยสังเขป
เป็นหนังสือที่ต้องการสะท้อนให้เห็นความสำคัญในการดูแลคนปัญญาอ่อน ซึ่งเป็นมนุษย์ที่มีศักดิ์ศรี และมีเกียรติเช่นเดียวกับคนอื่นๆในสังคม นอกจากนั้น ยังต้องการที่จะสะท้อนให้เห็นถึงงานสังคมสงเคราะห์จิตเวชที่ปฎิบัติต่อบุคคลปัญญาอ่อนมาเป็นเวลานาน โดยนักสังคมสงเคราะห์จิตเวช การเขียนหนังสือเล่มนี้เพื่อเสนอแนวทางในการปฎิรูปหรือปรับปรุงบริการสังคมสงเคราะห์จิตเวชต่อบุคคลปัญญาอ่อน โดยผนวกแนวคิดที่มีความสำคัญในการจัดบริการเพื่อให้นักสังคมสงเคราะห์และวิชาชีพอื่นๆที่ปฏิบัติงานกับบุคคลปัญญาอ่อนได้นำแนวคิดเหล่านี้ไปผสมผสานในการให้บริการกับบุคคลปัญญาอ่อน ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มคนที่จะต้องได้รับการดูแลเพื่อช่วยให้เขาสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักปรัชญาการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์และสามารถอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นๆในสังคมได้อย่างมีความกลมกลืนและมีความเป็นปกติธรรมดามากที่สุด หนังสือเล่มนี้ยังช่วยให้บิดามารดาหรือผู้ปกครองของบุคคลปัญญาอ่อน ได้มีความเข้าใจและสามารถดูแลบุตรหลานได้อย่างเหมาะสม
:: สารบัญ

สารบัญ

  • บทที่ 1 ความสำคัญในการจัดบริการสำหรับบุคคลปัญญาอ่อน

  • 1.ความหมายของภาวะปัญญาอ่อน

  • 2.การแบ่งประเภทของภาวะปัญญาอ่อน

  • 3.ปัจจัยสำคัญที่เป็นสาเหตุของภาวะปัญญาอ่อน

  • ฯลฯ

  • บทที่ 2 แนวคิดในการปฎิรูป การจัดบริการ และการปฎิบัติงานสังคมสงเคราะห์จิตเวชสำหรับบุคคลปัญญาอ่อน

  • 1.แนวคิดด้านสิทธิมนุษยชนและการดำเนินชีวิตให้เป็นปกติ (Human Rights and Normalization)

  • 2.แนวคิดการลดการพึ่งพิงสถาบัน (Deinstitutionalization)

  • 3.แนวคิดการใช้ชุมชนเป็นฐานในการปฏิบัติงาน (Community Based Approach)

  • ฯลฯ

  • บทที่ 3 การบูรณาการแนวคิดที่หลากหลายมาสู่การปฎิรูปการจัดบริการ และการปฎิบัติงานสังคมสงเคราะห์จิตเวช สำหรับบุคคลปัญญาอ่อนในประเทศไทย

  • 1.การบูรณาการแนวคิดมาสู่การปฏิรูป การจัดบริการสำหรับบุคคลปัญญาอ่อน

  • 2.การบูรณาการแนวคิดมาสู่การปฏิรูปการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์จิตเวชทางด้านภาวะปัญญาอ่อน

  • สรุป

  • บทที่ 4 ปัจจัยต่างๆ ที่จะนำไปสู่การปฎิรูป การจัดบริการ และการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์จิตเวชสำหรับบุคคลปัญญาอ่อนในประเทศไทย

  • 1.นโยบายของรัฐต่อบุคคลปัญญาอ่อน

  • 2.การประสานความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับบุคคลปัญญาอ่อน

  • 3.การตื่นตัวด้านสิทธิมนุษยชน

  • ฯลฯ

  • บทที่ 5 บทสรุป

  • แนวคิดการปฏิรูป การจัดบริการและการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์จิตเวชสำหรับบุคคลปัญญาอ่อนในประเทศไทย

  • 1.ความสำคัญในการจัดบริการให้กับบุคคลปัญญาอ่อน

  • 2.แนวคิดในการปฏิรูป การจัดบริการและการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์จิตเวชสำหรับบุคคลปัญญาอ่อน

    สารบัญ

  • บทที่ 1 ความสำคัญในการจัดบริการสำหรับบุคคลปัญญาอ่อน

  • 1.ความหมายของภาวะปัญญาอ่อน

  • 2.การแบ่งประเภทของภาวะปัญญาอ่อน

  • 3.ปัจจัยสำคัญที่เป็นสาเหตุของภาวะปัญญาอ่อน

  • ฯลฯ

  • บทที่ 2 แนวคิดในการปฎิรูป การจัดบริการ และการปฎิบัติงานสังคมสงเคราะห์จิตเวชสำหรับบุคคลปัญญาอ่อน

  • 1.แนวคิดด้านสิทธิมนุษยชนและการดำเนินชีวิตให้เป็นปกติ (Human Rights and Normalization)

  • 2.แนวคิดการลดการพึ่งพิงสถาบัน (Deinstitutionalization)

  • 3.แนวคิดการใช้ชุมชนเป็นฐานในการปฏิบัติงาน (Community Based Approach)

  • ฯลฯ

  • บทที่ 3 การบูรณาการแนวคิดที่หลากหลายมาสู่การปฎิรูปการจัดบริการ และการปฎิบัติงานสังคมสงเคราะห์จิตเวช สำหรับบุคคลปัญญาอ่อนในประเทศไทย

  • 1.การบูรณาการแนวคิดมาสู่การปฏิรูป การจัดบริการสำหรับบุคคลปัญญาอ่อน

  • 2.การบูรณาการแนวคิดมาสู่การปฏิรูปการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์จิตเวชทางด้านภาวะปัญญาอ่อน

  • สรุป

  • บทที่ 4 ปัจจัยต่างๆ ที่จะนำไปสู่การปฎิรูป การจัดบริการ และการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์จิตเวชสำหรับบุคคลปัญญาอ่อนในประเทศไทย

  • 1.นโยบายของรัฐต่อบุคคลปัญญาอ่อน

  • 2.การประสานความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับบุคคลปัญญาอ่อน

  • 3.การตื่นตัวด้านสิทธิมนุษยชน

  • ฯลฯ

  • บทที่ 5 บทสรุป

  • แนวคิดการปฏิรูป การจัดบริการและการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์จิตเวชสำหรับบุคคลปัญญาอ่อนในประเทศไทย

  • 1.ความสำคัญในการจัดบริการให้กับบุคคลปัญญาอ่อน

  • 2.แนวคิดในการปฏิรูป การจัดบริการและการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์จิตเวชสำหรับบุคคลปัญญาอ่อน

  • 3.การบูรณาการแนวคิดต่างๆ มาสู่การปฏิรูปการจัดบริการและการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์จิตเวชสำหรับบุคคลปัญญาอ่อน

  • ฯลฯ
  • :: ข้อมูลพิเศษ
    ฉลวย จุติกุล
    สังคมสงเคราะห์ศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2504, รับราชการในตำแหน่งนักสังคมสงเคราะห์ 9 ชช. (ด้านสังคมสงเคราะห์) โรงพยาบาลราชานุกูล ปี 2505-2542, อาจารย์พิเศษและวิทยากรพิเศษด้านสังคมสงเคราะห์ ปี 2535-2542, ได้รับรางวัล "นักสังคมสงเคราะห์ดีเด่น" จากมูลนิธิศาสตราจารย์ปกรณ์ อังศุสิงห์ ปี 2524 และรางวัล "บุคคลเกียรติยศ" จากรายการแฟ้มบุคคล สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 5 ปี 2524