กล่าวถึงลักษณะ ตำแหน่งงาน และหน้าที่รับผิดชอบของโปรแกรมเมอร์และนักวิเคราะห์ระบบ ว่ามีความเหมือนและความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง ขอบเขตการทำงานมีมากน้อยแค่ไหนอย่างไร คุณสมบัติที่ดีของโปรแกรมเมอร์และนักวิเคราะห์ระบบเป็นอย่างไร นอกจากนี้ยังกล่าวถึงเรื่องกรรมวิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ โมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์ เทคนิคสำคัญในการพัฒนาซอฟต์แวร์ ฯลฯ ซึ่งจะทำให้ผู้อ่านที่ต้องการพัฒนาตนเองไปสู่การเป็นโปรแกรมเมอร์และนักวิเคราะห์ระบบได้เตรียมตัว และตรวจสอบตนเองว่ามีความพร้อมและจะเป็นได้ดีเพียงใด
สารบัญ
บทที่ 1 ก้าวแรกกับโปรแกรมเมอร์ 9
ความหมายและลักษณะงานของโปรแกรมเมอร์ 11
ความหมายและลักษณะงานของนักวิเคราะห์ระบบ 12
ตั้งใจและขวนขวาย เพื่อมุ่งสู่จุดหมาย 13
คุณสมบัติของโปรแกรมเมอร์ที่ดี 14
ความรู้...คือการลงทุน 16
ค่าตอบแทน...ไม่ใช่เป็นสิ่งจูงใจอันดับแรกเสมอไป 18
ไม่แนะนำประสบการณ์แบบฉาบฉวย 20
จำเป็นไหม...เป็นโปรแกรมเมอร์ได้ต้องเรียนจบสายคอมพิวเตอร์เท่านั้น 21
เขียนโปรแกรมได้ กับเขียนโปรแกรมเป็น...แตกต่างกัน 22
เพียงแค่เขียนโปรแกรมได้...ก็ไม่ได้หมายความว่าเป็นนักโปรแกรมเมอร์ที่ดี24
งานด้านคอมพิวเตอร์ในบ้านเรา ต้องเป็นงานหลายๆ อย่าง 25
ควรมีความรู้ด้านฮาร์ดแวร์ 26
การเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ไม่เป็นสิ่งที่น่าเบื่อหรอก 27
อย่ามองข้ามเอกสารประกอบโปรแกรม 28
ถึงจะเป็นซูเปอร์โปรแกรมเมอร์ ก็ไม่สามารถจัดการกับระบบงานขนาดใหญ่ได้ด้วยตัวคนเดียวเป็นโปรแกรมเมอร์ประเภทไหนดี 30
บทที่ 2 ก้าวสู่การเป็นนักวิเคราะห์ระบบ 33
จำเป็นหรือไม่ว่า..นักวิเคราะห์ระบบต้องเป็นโปรแกรมเมอร์มาก่อน 34
ชั่วโมงบินสูง...ย่อมได้เปรียบ 35
ขอบเขตลักษณะงานของนักวิเคราะห์ระบบ 36
บุคลิกความเป็นผู้นำเป็นสิ่งสำคัญ 37
จริงหรือ...ที่นักวิเคราะห์ระบบมีดีกรีเหนือกว่าโปรแกรมเมอร์ 37
พึงจำไว้ว่า...การวิเคราะห์และออกแบบระบบใช่ว่าเป็นการพัฒนาระบบใหม่เสมอไป 38
ปัจจัยสำคัญต่อการพิจารณาเพื่อสร้างหรือปรับปรุงระบบ 39
ข้อเสนอรายงานหรือ Proposal เป็นสิ่งจำเป็น 40
ใส่ใจกับ Requirements 42
เครื่องมือในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 45
การจัดเวลาโครงการ 47
ความรู้ด้านการเงิน เป็นสิ่งสำคัญที่พึงรู้ 49
การประมาณต้นทุน (Cost Estimates) 53
ปัญหาของการประมาณต้นทุน 54
แนวทางการประหยัดต้นทุน 55
โมเดลการประมาณต้นทุน 55
โมเดลโคโคโม (The COCOMO Model) 58
บทที่ 3 การพัฒนาซอฟต์แวร์ 61
วงจรชีวิตการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle :SDLC) 62
ถึงแม้ซอฟต์แวร์ดำเนินมาถึงขั้นตอนติดตั้งเพื่อใช้งานจริงแล้ว ก็ใช่ว่าจะจบเกมส์ 63
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ 68
อย่าสักแต่จะโค้ดท่าเดียว 71
เมธอด (Method) 74
โมเดลการพัฒนาซอฟต์แวร์ 77
Rapid Application Development (RAD) 83
Joint Application Development (JAD) 84
เมื่อระบบพัฒนาเสร็จสิ้น จะโล่งใจ หรือใจหาย... 86
คุณภาพซอฟต์แวร์มีเกณฑ์วัดจากอะไร 89
สถาบันวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (SEI) 91
การประกันคุณภาพ (Total Quality Management) 93
มาตรฐานคุณภาพของระบบสารสนเทศ (Information Systems Quality Standards) 95
กลุ่มกระบวนการหลัก (Key Process Area : KPA) 103
ทิ้งท้าย 104
บรรณานุกรม 105