รายละเอียดหนังสือ
รหัสสินค้า: 9789742295035
จำนวน: 60 หน้า
ขนาดรูปเล่ม: 185 x 256 x 5 มม.
น้ำหนัก: 190 กรัม
เนื้อในพิมพ์: ขาวดำ 
ชนิดปก: ปกอ่อน 
ชนิดกระดาษ: -ไม่ระบุ 
หน่วย: เล่ม 
สำนักพิมพ์: เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC), ศูนย์ 
เดือนปีที่พิมพ์: 08 / 2546
พิมพ์ครั้งล่าสุด:ครั้งที่ 1 เดือน 01 ปี 2003
:: เนื้อหาโดยสังเขป
TEM เป็นกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนที่มีการใช้งานกันมาไม่ต่ำกว่า 30 ปีแล้ว แต่จะหาผู้ที่มีความเข้าใจถึงหลักการพื้นฐานและการประยุกต์ใช้งานให้ได้ผลในประเทศไทยนี้นับว่ายังมีอยู๋น้อยมาก จึงถือได้ว่าการเรียบเรียงหนังสือ "การประยุกต์ TEM ในงานด้านวัสดุศาสตร์และวิศวกรรม" ของคณะนักวิจัยของศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ ออกเผยแพร่ในครั้งนี้ เป็นการสร้างฐานที่สำคัญในวงการวิจัยและพัฒนาของไทยให้ก้าวหน้าไปได้อย่างมากอีกก้าวหนึ่ง การใช้ภาษาที่กระชับเข้าใจได้ง่าย ประกอบด้วยภาพต่าง ๆ ที่ชัดเจน ทำให้เป็นหนังสือที่สามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองได้เป็นอย่างดี
:: สารบัญ


สารบัญ

  • บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบทรานสมิสชั่น

  • 1.1 แนะนำ TEM และองค์ประกอบของกล้อง TEM

  • 1.2 ข้อมูลที่ได้จาก TEM

  • 1.3 ความรู้พื้นฐานในการใช้งาน TEM

  • บทที่ 2 การเตรียมชิ้นงานสำหรับ TEM

  • 2.1 ภาพรวมเกี่ยวกับการเตรียมชิ้นงาน

  • 2.2 การตัดชิ้นงาน

  • 2.3 การขัดชิ้นงาน

  • 2.3.1 ดิมเพิลกรายน์เดอร์

  • 2.3.2 ไทรพอดโพลิชเชอร์

  • 2.4 การลดความหนาของชิ้นงาน

  • 2.4.1 การกัดบางด้วยสารเคมี

  • 2.4.2 การกัดบางด้วยไฟฟ้า

  • 2.4.3 การกัดบางด้วยลำไอออน

  • 2.4.4 อัลตราไมโครโทม

  • บทที่ 3 การประยุกต์ TEM ในการพัฒนาโลหะผสม

  • 3.1 ทำไมจึงต้องใช้ TEM ในการศึกษาโลหะผสม?

  • 3.2 ลักษณะทางเรขาคณิตของข้อบกพร่อง และการเปลี่ยนรูปของโลหะ

  • 3.3 การศึกษากลไกการบ่มแข็งของอะลูมิเนียมผสม

  • 3.4 การศึกษาเทมเปอร์คาร์ไบด์ในเหล็กกล้าที่ผ่านการอบชุบ

  • 3.5 การพัฒนาซูเปอร์ลัลลอย

  • บทที่ 4 การประยุกต์ TEM ในการวิเคราะห์โครงสร้างฟิลม์บางพหุผลึก

  • 4.1 ทำไมจึงต้องใช้ TEM ในการศึกษาฟิลม์บาง?

  • 4.2 ประเด็นปัญหา

  • 4.3 การเตรียมชิ้นงาน

  • 4.4 สภาวะการใช้เครื่องมือ

  • 4.5 ขั้นตอนการวิเคราะห์

  • 4.5.1 การวิเคราะห์โครงสร้างจุลภาค และการวัดความหนาของฟิลม์

  • 4.5.2 การวิเคราะห์โครงสร้างผลึก

  • บทที่ 5 การประยุกต์ TEM ในการวิเคราะห์โพลิเมอร์

  • 5.1 เทคนิค TEM ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโพลิเมอร์ในแง่มุมใดบ้าง?

  • 5.2 ประเด็นปัญหาและแนวทางในการศึกษา

  • 5.3 การเตรียมตัวอย่าง

  • 5.3.1 การเตรียมแผ่นฟิลม์โพลิเมอร์ผสม

  • 5.3.2 การตัดแผ่นฟิลม์บางด้วยเทคนิคไมโครโทม

  • 5.3.3 การย้อมติดสี

  • บทที่ 6 การประยุกต์ TEM ในการศึกษาสารกึ่งตัวนำ

  • 6.1 ทำไมจึงต้องใช้ TEM ในการศึกษาสารกึ่งตัวนำ?

  • 6.2 เทคนิคและเงื่อนไขที่ใช้ในการวิเคราะห์

  • 6.2.1 การเลี้ยวเบนอิเล็กตรอนแบบเลือกบริเวณ

  • 6.2.2 การถ่ายภาพไบรต์ฟิลด์

  • 6.2.3 เงื่อนไขในการใช้งาน TEM

  • 6.3 การเตรียมชิ้นงาน

  • 6.4 ผลการวิเคราะห์และอภิปราย

  • 6.4.1 ชั้นฟิลม์บางแบบอิพิแทกซี Ga In P

  • 6.4.2 ชั้นฟิลม์บางแบบอิพิแทกซี GaN

  • ประวัติและผลงานของผู้เขียน

  • ภาคผนวก