หนังสือเล่มนี้เป็นตำราที่ใช้ทฤษฎีและมโนทัศน์ทางเศรษฐศาสตร์ ทำความเข้าใจถึงบทบาทที่เหมาะสมของรัฐทั้งเรื่องประสิทธิภาพ ความเท่าเทียมกัน เสถียรภาพและการพัฒนาสถาบันทางเศรษฐกิจโดยเน้นความสัมพันธ์ของรัฐกับระบบตลาด การวิเคราะห์พฤติกรรมของรัฐและสถาบันการเมือง รวมทั้งมีเรื่องที่เฉพาะกับประเทศไทย คือการประยุกต์ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับการกำหนดนโยบายสาธารณะ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทยและวิวัฒนาการของนโยบายรัฐไทย โดยอธิบายเนื้อหาอย่างละเอียด เป็นลำดับขั้น พร้อมตัวอย่าง และคำถามท้ายบทเพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจ เหมาะสำหรับนักศึกษาและผู้สนใจทั้งสาขาเศรษฐศาสตร์และสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง
ส่วนที่ 1 แนวคิดพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์เพื่อการวิเคราะห์
- บทที่ 1 บทนำ
- บทที่ 2 เครื่องมือในการวิเคราะห์นโยบายและมาตรการของรัฐ
ส่วนที่ 2 ระบบตลาด ประสิทธิภาพ และภาครัฐ
- บทที่ 3 ประสิทธิภาพและระบบตลาด
- บทที่ 4 การแข่งขันที่ไม่สมบูรณ์และผลกระทบภายนอก
- บทที่ 5 สินค้าสาธารณะ
- บทที่ 6 ความล้มเหลวของระบบตลาด : ข้อมูล เศรษฐกิจมหภาค
ส่วนที่ 3 รัฐกับนโยบายสาธารณะเฉพาะด้าน
- บทที่ 7 ความยากจนและการกระจายรายได้
- บทที่ 8 รัฐกับนโยบายการศึกษา
- บทที่ 9 รัฐกับนโยบายประกันสังคม
- บทที่ 10 นโยบายเศรษฐกิจมหภาค
- บทที่ 11 นโยบายการค้าระหว่างประเทศและการพัฒนา
ส่วนที่ 4 สถาบันสาธารณะ
- บทที่ 12 เศรษฐศาสตร์กระบวนการประชาธิปไตย
- บทที่ 13กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะและความล้มเหลวของรัฐ
- บทที่ 14 การอภิปรายกับนโยบายสาธารณะ
- บทที่ 15 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับนโยบายสาธารณะ
ส่วนที่ 5 ส่วนส่งท้าย
- บทที่ 16 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจและภาครัฐของไทย