"คู่มือเตรียมสอบ ภาษาอังกฤษ (English) สำหรับ ก.พ. ภาค ก และงานราชการ All in 1" เล่มนี้ คัดสรรมาเฉพาะหัวใจสำคัญในการเตรียมสอบภาษาอังกฤษสำหรับงานราชการ เทคนิคในการทำข้อสอบ และคำอธิบายอย่างละเอียด มีหลักและเนื้อหาครบ ครอบคลุม และกระชับ อธิบายตั้งแต่ความสำคัญของวิชาภาษาอังกฤษ เกณฑ์การสอบภาษาอังกฤษของงานราชการสนามต่างๆ ปูพื้นฐานเนื้อหาหลักที่ออกข้อสอบ ได้แก่ หลักไวยากรณ์ บทสนทนา คำศัพท์ที่เคยออกข้อสอบและการอ่านเพื่อทำความเข้าใจ พร้อมทั้งรวบรวมแนวข้อสอบเก่าภาษาอังกฤษ ก.พ. ภาค ก ตั้งแต่ พ.ศ. 2559-ปัจจุบัน เหมาะที่จะใช้เตรียมความพร้อม และใช้ทบทวนความรู้ก่อนสอบวิชาภาษาอังกฤษ ภาค ก ของงานราชการทุกสนามสอบ ด้วยเนื้อหาและคำอธิบายที่เข้าใจง่าย ผู้อ่านจึงสามารถศึกษา เรียนรู้ และอ่านทำความเข้าใจได้ด้วยตนเอง แม้จะมีพื้นฐานน้อยก็ตาม
ส่วนที่ 1 บทนำและเทคนิคในการเตรียมตัวสอบภาษาอังกฤษในการสอบ ก.พ. ภาค ก และงานราชการ
- ความสำคัญของการทดสอบภาษาอังกฤษสำหรับ ก.พ. ภาค ก และงานราชการ
- หลักเกณฑ์และคำแนะนำเบื้องต้นในการสอบภาษาอังกฤษสำหรับ ก.พ. ภาค ก และงานราชการ
- เคล็ด (ไม่) ลับในการสอบผ่านภาษาอังกฤษ
ส่วนที่ 2 หัวใจไวยากรณ์และโครงสร้างประโยค (Grammar Structurech)
- หัวใจของชนิดคำ (part of speech)
- หัวใจโครงสร้างประโยค (sentence structures)
- หัวใจของกาล (Tense)
- การก (Active and Passive Voices)
- ประโยคเงื่อนไง (If Clause)
- การเปรียบเทียบ (Comparisons)
- Question tag
- Articles : A, An, The (คำนำหน้าคำนาม)
- การเรียงลำดับคำในประโยค (Word order)
ส่วนที่ 3 บทสนทนาภาษาอังกฤษและเทคนิคในการทำข้อสอบ
- บทสนทนาในสถานการณ์ต่างๆ ที่ใช้บ่อยชีวิตประจำวัน
- ตัวอย่างข้อสอบบทสนทนาในสถานการณ์ต่างๆพร้อมเฉย
ส่วนที่ 4 การอ่านเพื่อทำความเข้าใจและเทคนิคในการทำข้อสอบ (Reading comprehension Techniques)
- ความหมายของการอ่านเพื่อทำความเข้าใจ
- ประเภทของเทคนิคการอ่าน
- เทคนิคการจับใจความสำคัญ
- หลักเกณฑ์การอ่านเพื่อทำความเข้าใจในการทำข้อสอบ
- เทคนิคการเดาทิศทางของเรื่องที่อ่าน
ส่วนที่ 5 คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่จำเป็นในการสอบ (Essential Vocabularies)
- เทคนิคการเดาความหมายคำศัพท์จากคำอุปสรรค (Prefixes) และคำปัจจัย (Suffixes)
- เทคนิคการเดาคำศัพท์จากข้อความแวดล้อมหรือบริบท
- คำศัพท์จัดกลุ่มและวิธีฝึก
- ท่องศัพท์ : กริยาสามช่อง
ส่วนที่ 6 แบบทดสอบพร้อมเฉย
ภาคผนวก
บรรณานุกรม