รูปภาพสินค้า รหัส9789749900529
9789749900529
-
ผู้เขียนสมนึก ทับพันธุ์, ดร.

ส่วนลด 0 %
ราคาปก 520.00 บาท
ราคาสุทธิ 520.00 บาท
Bookmark and Share
รายละเอียดหนังสือ
รหัสสินค้า: 9789749900529
จำนวน: 393 หน้า
ขนาดรูปเล่ม: 185 x 260 x 20 มม.
น้ำหนัก: 725 กรัม
เนื้อในพิมพ์: ขาวดำ 
ชนิดปก: ปกอ่อน 
ชนิดกระดาษ: กระดาษปอนด์ 
หน่วย: เล่ม 
สำนักพิมพ์: ธรรมศาสตร์, สนพ. ม. 
เดือนปีที่พิมพ์: 11 / 2551
:: เนื้อหาโดยสังเขป
หนังสือเล่มนี้นำเสนอและประยุกต์เครื่องมือและวิธีการทางคณิตศาสตร์ไปในการอธิบายและวิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ เหมาะสำหรับผู้อ่านที่เริ่มศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ เพราะจะช่วยให้ศึกษาวิชาเศรษศาสตร์อย่างมีประสิทธิ์ภาพมากขึ้น จึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่กำลังศึกษาระดับปริญญาตรี ที่ต้องศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น เพราะจะให้ความรู้ในวิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
:: สารบัญ
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ทฤษฎีเศรษญศาสตร์ แบบจำลองเศรษญศาสตร์และคณิตศาสตร์
1.2 ข้อดีและข้อเสียของวิธีการศึกษาเศรษฐศาสตร์ด้วยคณิตศาสตร์
1.3 รูปแบบการวิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐศษสตร์กับวิธีการทางคณิตศาสตร์
ฯลฯ
บทที่ 2 ฟังก์ชันและกราฟ
2.1 ความนำ
2.2 แนวคิดเรื่องเซตความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
2.3 การแสดงภาพความสัมพันธ์ทางเศรษฐศาสตร์ด้วยคณิตศาสตร์
ฯลฯ
บทที่ 3 แบบจำลองที่เป็นเส้นตรงและไม่เป็นเส้นตางในเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
3.1 แบบจำลองที่เป็นเส้นตรงในเศรษฐศาสตร์
3.2 แบบจำลองไม่เป็นเส้นตรงในเศรษฐศษสตร์เบื้องต้น
บทที่ 4 เมทริกซ์แอลจีบรา
4.1 เทอมและสัญลักษณ์ที่ใช้ในเมทริกซ์แอลจีบราเบื้องต้น
4.2 การคำนวณเกี่ยวกับเมทริกซ์
4.3 การใช้เมทริกซ์แสดงแบบจำลองทางเศรษฐกิจ
ฯลฯ
บทที่ 5 การประยุกต์เครื่องมือเมทริกซ์แอลจีบราในเศรษฐศาสตร์
5.1 แบบจำลองดุลยภาพบางส่วน
5.2 ผลของภาษีสรรพสามิตต่อดุลยภาพตลาด
5.3 แบบจำลองมหภาคอย่างง่าย
ฯลฯ
บทที่ 6 แบบจำลองฟังก์ชันไม่เป็นเส้นตรงและแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์
6.1 ค่าความชันของฟังก์ชัน
6.2 อนุพันธ์
6.3 กฎเกณฑ์การหาค่าอนุพันธ์
ฯลฯ
บทที่ 7 การประยุกต์อนุพันธ์ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์
7.1 การวาดกราฟ
7.2 ค่าความยืดหยุ่น
7.3 อนุพันธ์กับแนวคิดการตัดสินใจในเศรษฐศาสตร์
ฯลฯ
บทที่ 8 แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์กับฟังก์ชันที่มีตัวแปรมากกว่า 2 ตัว
8.1 อนุพันธ์บางส่วนหรือนุพันธ์ย่อย
8.2 อนุพันธ์ย่อยที่สอง
8.3 ดิฟเฟอเรนเชียล
ฯลฯ
บทที่ 9 การหาค่าเหมาะสมที่สุด : ฟังก์ชันที่มีตัวแปร 2 ตัว กับการประยุกต์ในเศรษฐศาสตร์
9.1 ตัวอย่างการหาค่าเหมาะสมที่สุด
9.2 จุดสูงสุดและต่ำสุดเฉพาะที่
9.3 จุดเปลี่ยนเว้าและการทดสอบ
ฯลฯ
บทที่ 10 การหาค่าเหมาะสมที่สุดโดยไม่มีข้อจำกัด กรณีฟังก์ชันที่มีตัวแปรมากกว่า 2 ตัว
10.1 วิธีการและขั้นตอนการหาค่าเหมาะสมที่สุดโดยอนุพันธ์
10.2 การหาจุดสูงสุด-ต่ำสุดโดยวิธีการดิฟเฟอร์เรนเชียล
10.3 ตัวอย่างการประยุกต์วิธีการหาค่าเหมาะสมที่สุดในทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
ฯลฯ