หนังสือเล่มนี้เป็นตำราเพื่อใช้ประกอบการศึกษา วิชาเศรษฐศาสตร์การค้าระหว่างประเทศ จึงมีความลุ่มลึกของทฤษฎีและการวิเคราะห์มากกว่าหนังสือเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศที่มีอยู่หลายเล่มในตลาดตำราขณะนี้โดยเนื้อหาในเล่มแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่หนึ่งเป็นการทำความเข้าใจกับแนวคิดทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการค้าระหว่างประเทศ ตั้งแต่ยุคพาณิชย์นิยมจนมาถึงยุคปัจจุบัน ส่วนที่สองเป็นการในแนวทางในการวิเคราะห์ผลของนโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าระหว่างประเทศ ตลอดจนผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความสำคัญของการค้าระหว่างประเทศ
1.2 ทำไมจึงต้องเรียนเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศแยกเป็นอีกแขนวหนึ่ง
1.3 ขอบเขตของวิชาทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ
ส่วนที่ 1 ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ
บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎีการค้าเบื้องต้นในอดีต : พาณิชย์นิยมและคลาสสิก
2.1 บทนำ
2.3 แนวความคิดพานิชย์นิยม (Marcantilism) ทางด้านการค้าระหว่างประเทศ
2.3 การค้าระหส่งประเทศตามแนวคิดของสำนักคลาสสิก
ฯลฯ
บทที่ 3 เศรษฐศาสตร์จุลภาคในการวิเคราะห์การค้าระหว่างประเทศ
3.1 บทนำ
3.2 แนวคิดและเครื่องมือด้านอุปทาน
3.3 แนวคิดและเครื่องมือด้านอุปสงค์
บทที่ 4 จากคลาสสิก (Classic) สู่คลาสสิกใหม่ (Neo-classic)
4.1 บทนำ
4.2 อธิบายคลาสสิกด้วยเครื่องมือนีโอคลาสสิก
4.3 ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศในสำนักคลาสสิกใหม่
ฯลฯ
บทที่ 5 ปัจจัยพื้นฐานของการเกิดการค้าระหว่างประเทศ และทฤษฎีการค้าของเฮคเชอร์ และโอลิน (Heckscher-Ohlin Theory)
5.1 บทนำ
5.2 ปัจจัยพื้นฐานที่นำไปสู่การค้าระหว่างประเทศ
5.3 ทฤษฎีการค้าของเฮคเชอร์-โอลิน
ฯลฯ
บทที่ 6 ทฤษฎีการค้าสมัยใหม่หลังทฤษฎีของเฮคเชอร์-โอลิค
6.1 แบบจำลองปัจจัยการผลิตเฉพาะ (The Specific Factor Model)
6.2 ผลตอบแทนต่อขนาดการผลิตเพิ่มขึ้น (Increasing Return to Scale: IRS)
6.3 การแข่งขันที่ไม่สมบูรณ์กับการค้าระหว่างประเทศ
ฯลฯ
บทที่ 7 นโยบายแทรกแซงการค้าเสรี
7.1 บทนำ
7.2 มาตรการด้านภาษี
7.3 มาตรการที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barrier : NTB)
ฯลฯ
บทที่ 8 มาตรการกีดกันทางการค้า : กรณีประเทศเล็ก
8.1 บทนำ
8.2 มาตรการแทรกแซงทางการค้าต่าง ๆ : วิเคราะห์แบบดุลยภาพบางส่วน
8.3 มาตรการแทรกแซงทางการค้า : วิเคราะห์แบบดุลยภาพทั่วไป
ฯลฯ
บทที่ 9 มาตรการกีดกันทางการค้า : กรณีประเทศใหญ่
9.1 บทนำ
9.2 มาตรการแทรกแซงการค้าต่าง ๆ : วิเคราะห์แบบดุลยภาพบางส่วน
9.3 ภาษีนำเข้า (Import Tariff): วิเคราะห์แบบดุลยภาพทั่วไป
ฯลฯ
บทที่ 10 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
10.1 บทนำ
10.2 ทฤษฎีสหภาพศุลกากรและทฤษฎีตีเป็นที่สอง
10.3 ความเข้าเป็นสมาชิกสหภาพศุลกากรหรือไม่
ฯลฯ
ฯลฯ