ในการเรียนหนังสือเล่มนี้ ผู้เรียบเรียงมีจุดมุ่งหมายไว้ 2 ประการ คือ ประการแรก ให้เป็นหนังสือวิชาการ มีการจัดความรู้ที่นักเรียนต้องศึกษา
ประการต่อมา ต้องการให้เป็นหนังสือเรียนที่ช่วยแบ่งเบาภาระแก่อาจารย์ผู้สอน จึงจัดทำบทสรุปแต่ละบทไว้ พร้อมทั้งใบงานทุกบทเพื่อทบทวนความเข้าใจของนักเรียน และยังได้นำแนวการสอนวิชาพระพุทธศาสนาของกรมวิชาการบรรจุไว้ด้วย
บางตอนที่นักเรียนสามารถศึกษาด้วยตนเองมาจัดทำในลักษณะของบทเรียนสำเร็จรูปทั้งหมด 8 เรื่องได้แก่
กรรมและวิบากกรรม
กฎแห่งกรรม
การสิ้นกรรม
ไตรลักษณ์
มงคล 11 มงคล 12
มงคล 13 มงคล 17
หน้าที่ชาวพุทธในการศึกษาและปฏิบัติธรรม(ปฏิจจสมุปบาท-อริยสัจ 4)
หน้าที่ชาวพุทธในการศึกษาและปฏิบัติธรรม (ไตรสิกขา-โอวาทปาติโมกข์)
จุดประสงค์การเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนา
คำทำวัตรเย็น
เหตุผลของการสวดมนต์ในพระพุทธศาสนา
บทแผ่เมตตาประกอบการบริหารจิต
แบบทดสอบก่อนการเรียนวิชาพระพุทธศาสนา
บทที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา
บทที่ 2 พระพุทธคุณ 9 พระพุทธคุณ 3 พุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาวพุทธตัวอย่าง
บทที่ 3 กฎแห่งกรรม
บทที่ 4 บทบาทพระสงฆ์ในการอนุรักษ์ธรรมชาติ ศิลปกรรมและการปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อพระสงฆ์
บทที่ 5 พระไตรปิฎก ภาษาบาลี พุทธศาสนสุภาษิต และคำศัพท์ทางพระพุทธศาสนา
บทที่ 6 หน้าที่ชาวพุทธในการศึกษาและปฏิบัติธรรม
บทที่ 7 การบริหารจิตและเจริญปัญญา
บทที่ 8 มารยาทชาวพุทธ ศาสนพิธี และวันสำคัญ ทางพระพุทธศาสนา
บรรณานุกรม