ในศาสตร์จีนโบราณนั้นถือว่าร่างกายของเราจะต้องมีความสมดุลกันระหว่างหยินและหยาง ซึ่งทั้งสองสิ่งนี้ต้องมึอยู่ร่วมกันอย่างสมบูรณ์ด้วย จึงจะเกิดผลดีต่อสุขภาพ "กลยุทธ์เต้าหยิน" ก็ถือศาสตร์แห่งการสร้างความสมดุลให้คงอยุ่ อันจะช่วยทำให้ร่ากายทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถต่อต้านกับโรคภัยไข้เจ็บนานัปการ
1) ท่าฝึกชุดที่หนึ่ง : ท่าฝึกหัดร่างกายและการหายใจตามวิถีของ ฉี่ สงจื้อ
2) ท่าฝึกชุดที่สอง : ท่าฝึกหัดร่างกายและการหายใจ ห้าท่าตามวิถีแก่ง หลิง เจี้นนสือ
3) ท่าฝึกชุดที่สาม : ท่าฝึกหัดร่างกายและการหายใจ ของ เปง ซู
4) ท่าฝึกชุดที่สี่ : ท่าฝึกหัดบริหารร่างกายและการหายใจ ของ พระสวน เจี้ยน
5) ท่าฝึกชุดที่ห้า : ท่าฝึกหัดร่างกายและการหายใจในท่านั่ง ของ เซน ซี่หยี
6) ท่าฝึกชุดที่หก : ท่าฝึกหัดออกกำลังกายและฝึกลมปราณ ของ หวัง ซื่อเฉียว
7) ท่าฝึกชุดที่เจ็ด : ท่าฝึกหัดของท่าสัตว์ต่างๆ ห้าชนิด
8) ท่าฝึกชุดที่แปด : สำนักเก่าแก่ของท่าฝึกหัดท่าสัตว์ทั้งห้า
9) ท่าฝึกชุดที่เก้า : ท่าฝึกหัดท่าต่างๆ ของสัตว์ทั้งห้าชนิด ตามตำราของ จู ลุ่นจิง
10) ท่าฝึกชุดที่สิบ : ท่าฝึกนวดตัวเอง
ฯลฯ