"รัฐศาสตร์แนววิพากษ์" เป็นการแสดงทัศนะว่าด้วยความฉ้อฉลของความรู้ ซึ่งอาจารย์ไชยรัตน์ อิงแนวคิดของฟูโกต์ ที่บอกว่าความรู้ไม่ใช่เรื่องของสัจจะ หรือความเป็นกลางทางวิชาการแบบที่นักวิทยาศาสตร์ชอบอ้างกัน แต่เป็นเพียงองค์ประกอบของวาทกรรม ซึ่งเต็มไปด้วยอคติและผลประโยชน์ของผู้สร้าง เผยให้เห็นถึงโฉมหน้าที่สลับซับซ้อนและแยบยลของสิ่งที่เรียกว่า "อำนาจ" และ "ความรู้" อันเป็นสิ่งซึ่งไม่สามารถแยกจากกันได้ เป็นหนังสือที่รวมบทความวิชาการ ที่แม้เนื้อหาสาระจะมีความแตกต่างหลากหลาย แต่ภายใต้ความแตกต่างหลากหลายนี้ กลับมีลักษณะร่วมกันที่สำคัญ ซึ่งสามารถช่วยให้คุณเข้าใจเรื่องราวรอบตัวได้เป็นอย่างดี
ส่วนที่ 1 ทฤษฎี/วิธีการหาความรู้
บทที่ 1 ความไร้น้ำยาของวิชารัฐศาสตร์
บทที่ 2 เปรียบเทียบวิธีการหาความรู้ของสำนักประจักษ์นิยม แนววิเคราะห์ภาษา และสำนักปรากฏการณ์วิทยา
บทที่ 3 วาทกรรมกับการพัฒนา
บทที่ 4 บทวิจารณ์หนังสือของ Harold Garfinkel, "Passing and the managed achievement of sex status in an 'intersexed' person," in Studies in Ethnomethodology. New Jersey : Prentice Hall, 1967, 116-185.
ส่วนที่ 2 รัฐศาสตร์
บทที่ 5 การเมืองแบบใหม่ ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม รูปแบบใหม่และวาทกรรมการพัฒนาชุดใหม่
บทที่ 6 การเมืองกับการศึกษาการพัฒนา
บทที่ 7 เศรษฐศาสตร์การเมืองคืออะไร?
บทที่ 8 การเดินทางครั้งใหม่ของนักรัฐศาสตร์ไทย : ศาสตราจารย์ ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิช กับการศึกษารัฐและสังคมไทย
ส่วนที่ 3 การบริหารรัฐกิจ
บทที่ 9 คำประกาศแห่งเมืองแบล็กส์เบอร์ก : ความเคลื่อนไหวในแวดวงการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์อเมริกัน
บทที่ 10 การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ : บทเรียนจากอดีตและทิศทางในอนาคต
บทที่ 11 ทฤษฎีองค์การกับพฤติกรรมของ "นักเปิดโปง"
บทที่ 12 การบริหารจัดการในโลกยุคหลังสงครามเย็น